ระบบ ขับถ่าย ของ ไส้เดือน ดิน

วธ-การ-ทำ-ถง-ขยะ-เปยก
December 15, 2021, 2:37 pm

ในเซลล์หรือในร่างกายของสัตว์ต่าง ๆ จะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นตลอดเวลา ทำให้เกิดของเสีย จากกระบวนการเมแทบอลิซึมที่ร่างกายต้องกำจัดออกโดยการขับถ่าย ได้แก่ สัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างในการกำจัดของเสียออกจากร่างกายแตกต่างกัน ดังนี้ 9. 1 ไฮดรา ภาพที่ 9. 1 การขับถ่ายของเสียของไฮดรา ที่มาภาพ: 9. 2 พลานาเรีย ภาพที่ 9. 2 โครงสร้างในการขับถ่ายของเสียของพลานาเรีย 9. 3 ไส้เดือนดิน ภาพที่ 9. 3 โครงสร้างในการขับถ่ายของเสียของไส้เดือนดิน 9. 4 แมลง ภาพที่ 9. 4 โครงสร้างในการขับถ่ายของเสียของแมลง 9. 5 ปลา ภาพที่ 9. 5 โครงสร้างในการขับถ่ายของเสียของปลา 9. 6 นก ภาพที่ 9. 6 โครงสร้างในการขับถ่ายของเสียของนก รวบรวมจาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 4. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค. พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และคณะ. 2560. ชุดกิจกรรมพัฒนาการคิด เสริมสร้างสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว); สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2560 สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2560

ระบบหมุนเวียนโลหิต - ระบบในร่างกายของมนุษย์

แสดงตำแหน่งของท่อมัลพิเกียน ข.

แสดงตำแหน่งของมัลพิเกียนทิวบูล ข. แผนภาพของกระบวนการขับถ่ายสารต่างๆของมัลพิเกียนทิวบูล นกและสัตว์เลื้อยคลาน -มีโครงสร้างร่างกายส่วนใหญ่ที่ป้องกันการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย เช่น มีผิวหนังหนา มีเกล็ด มีขนปกคลุมทั่วร่างกาย มีการขับถ่าย -มีการกำจัดของเสียในรูปกรดยูริกซึ่งใช้น้ำในการกำจัดน้อยมาก สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีไต (kidney) เป็นอวัยวะขับถ่ายทำหน้าที่ขับถ่ายของเสียและรักษาสมดุลของน้ำและเเร่ธาตุโดยทำงานร่วมกับระบบหมุนเวียนเลือด

สุขศึกษา 5. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์เอมพันธ์, 2558.

2 เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell) มีลักษณะค่อนข้างกลม ไม่มีสีและมีนิวเคลียส เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด หน้าที่ ทำลายเชื้อโรคหรือสารแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกาย แหล่งที่สร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก และต่อมน้ำเหลือง มีอายุประมาณ 7-14 วัน 3. เกล็ดเลือดหรือแผ่นเลือด (blood pletelet) ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ซึ่งมีรุปร่างกลมรีและแบนเกล็ดเลือดมีอายุประมาณ4วัน หน้าที่ ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหลของเลือดจากหลอดเลือดออกสู่ภายนอก ระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์ ประเภทของระบบหมุนเวียนเลือด แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบเปิด เป็นระบบที่เลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลาแต่เลือดจะไหลไปตามช่องว่างใน ลำตัวที่เรียกว่า เฮโมซีล ( Haemocoel) พบในสัตว์ในไฟลัมมอลลัสกา ได้แก่ หอย ปลาหมึก และสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ได้แก่ ปู กุ้ง ตะขาบ และแมลง รูปที่ 1 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดของแมลง 2. ระบบปิด เป็นระบบที่เลือดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหัวใจครบวงจร ระบบนี้มีเส้นเลือดฝอยเชื่อมโยงระหว่างเส้นเลือดที่พาเลือดออกจากหัวใจ กับเส้นเลือดที่พาเลือดเข้าสู่หัวใจ พบในสัตว์ไฟลัมแอนิลิดา เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา หรือพวกมีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ระบบไหลเวียนโลหิตแบบปิด มีอวัยวะที่สำคัญในระบบ คือ หัวใจ เลือด และหลอดเลือด รูปที่ 1 ระบบหมุนเวียนเลือดเเบบปิดของปลา

*ระบบไหลเวียนเลือด - ว่าที่ร้อยเอกสนั่น วงพิมล

บี เกิ้ ล น่า รัก

การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีกระดูกสันหลัง 1. 1 การย่อยอาหารของสัตว์บางชนิดที่ไม่มีทางเดินอาหาร ฟองน้ำ ( Sponge) เป็นสัตว์ใน ไฟลัมพอริเฟอรา ( Phylum Porifera) ไม่มีปากและทวารหนักที่แท้จริง ทางเดินอาหารเป็น แบบร่างแห ( Channel network) เป็นเพียงรูเปิดเล็กๆ รอบลำตัว เรียกว่า ออสเทีย ( Ostia) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำไหลเข้าสู่ลำตัวฟองน้ำ ซึ่งเป็นการนำอาหารเข้าสู่ลำตัว ส่วนรูเปิดด้านบนลำตัว เรียกว่า ออสคิวลัม ( Osculum) ทำหน้าที่เป็นทางน้ำออก รูปที่ 1.

  • *ระบบไหลเวียนเลือด - ว่าที่ร้อยเอกสนั่น วงพิมล
  • ชีววิทยา2: 1.3.1 การย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร
  • ไส้เดือนดิน | ระบบการย่อยอาหาร
  • แอ น ด รอย ด์ บน pc.fr
  • The truman show ดู หนัง series
  • เว็บไซต์กรมการค้าต่างประเทศ > บริการจากกรม > บริการข้อมูล Information > คู่มือประชาชน
  • Venom พากย์ ไทย google drive google
  • ถุง น่อง ขา เรียว flaseek
  • กริ่ง หลวง ปู่ หง ษ์
  • แปล เพลง let me give it to you baby

9. ระบบขับถ่ายของสัตว์บางชนิด | ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์

หัวใจทำหน้าที่บีบตัวเพื่อให้เลือดไหลไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย หัวใจโดยเฉพาะห้องล่างซ้าย ในภาวะปกติจะบีบตัวให้เลือดไหลประมาณ 70 มิลลิลิตร ต่อ 1 ครั้ง ของการบีบตัว 2. นำแก๊สออกซิเจนส่งไปยังเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย โดยมีเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีสารเฮโมโกลบิน (Haemoglobin) เป็นตัวนำออกซิเจนจากปอดไปสู่เซลล์ร่างกาย 3. ขนส่งน้ำและเกลือแร่ต่างๆ ไปสู่เซลล์ โดยน้ำของเลือดหรือพลาสมา (Plasma) ซึ่งมีร้อยละ 5 ของน้ำหนักของร่างกาย ทั้งนี้น้ำของเลือดจะมีส่วนประกอบคือน้ำและสารอาหารที่ร่างกายพร้อมที่จะนำไปใช้ในกระบวนการเผาผลาญได้ คือ กลูโคส กรดไขมัน กรดอะมิโน วิตามิน แก๊สต่าง ๆ ฮอร์โมน (Hormone) และ อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) เป็นต้น 4. นำแอนติบอดี (Antibodies) ที่เป็นภูมิคุ้มกันโรค โดยอาศัยกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันโรค (Antibodies) เพื่อกำจัดสิ่งแปลกปลอมโดยปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกาย ไปให้เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งเกิดจากเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีบทบาทสำคัญในการกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย 5. นำฮอร์โมนไปให้เซลล์ โดยฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไร้ท่อจะเข้าไปในหลอดเลือดโดยตรง เนื่องจากต่อมดังกล่าวไม่มีท่อ ฮอร์โมนแต่ละชนิดได้นำเอนไซม์ (Enzyme) ไปให้เซลล์ต่างๆ เพื่อช่วยในการเผาผลาญอาหาร ประเภทของระบบไหลเวียนเลือด แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ 1.

กระบวนการกรองของเสียที่โกลเมอรูลัส ( glomerulus filtration) - เลือดรับของเสียจะไกลจาก renal artery ไปตามหลอดเลือดเล็กๆเข้าสู่โกลเมอรูลัสซึ่งผนังของโกลเมอรูลัสเป็นเส้นเลือดฝอยจะทำการกรองสารโดยยอมให้สารที่มีโมเลกุลเล็กผ่านเข้าไปได้พร้อมกับน้ำผ่านเข้าไปในโบว์แมนแคปซูล เช่น เกลือ ยูเรีย กลูโคส กรดอะมิโน แต่จะไม่ยอมให้สารที่มีโมเลกุลใหญ่ผ่านเข้าไป เช่น โปรตีน ไขมันและเซลล์เม็ดเลือดแดง ดังนั้นสิ่งที่ไม่พบในปัสสาวะ ได้แก่ เม็ดเลือดแดง โปรตีน กลูโคสและกรดอะมิโน ในแต่ละวันสารจะผ่านโกลเมอรูลัสโดยเฉลี่ยประมาณวันละ 180 ลิตร แต่ร่างกายมีการดูดน้ำกลับประมาณวันละ 178. 5 ลิตร ส่วนที่เหลือจะขับออกในรูปปัสสาวะ ถ้าโกลเมอรูลัสเสียสมบัติในการกรองจะพบเม็ดเลือดแดงและอัลบูมินโปรตีนในปัสสาวะ 2.

ฟองน้ำ มีระบบทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์....... 2. porocyte เป็นทางน้ำและอาหารเข้า ซึ่งมีรอบลำตัว....... 3. spongocoel เปรียบเมือนช่องว่างกลางลำตัวไว้ย่อยอาหาร....... 4. Choanocyte ใช้กระบวนการ phagocytosis....... 5. Amoebocyte เป็น Intracellular digestion