เงิน รางวัล หัก ภาษี ณ ที่ จ่าย กี่ เปอร์เซ็นต์

วงจร-power-supply-0-30v
December 15, 2021, 2:50 pm

เลขที่หนังสือ: กค 0706/2841 วันที่:4 เมษายน 2549 เรื่อง:ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีพนักงานได้รับรางวัล ข้อกฎหมาย:มาตรา 40(1) มาตรา 40(8) มาตรา 42 ทวิ มาตรา 50(1) มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ข้อหารือ: บริษัท ก. ประกอบธุรกิจ Holding Company คือ ถือหุ้นของบริษัทในเครือเดียวกันหลายบริษัท ซึ่งแต่ละบริษัทประกอบธุรกิจผลิตสินค้าหรือให้บริการ บริษัท ก. ต้องการส่งเสริมให้พนักงานบริษัทของตนและบริษัทในเครือเดียวกันมีการพัฒนาด้านความคิดและคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่กลุ่มบริษัทในเครือเดียวกัน ทั้งด้านผลิตภัณฑ์ กระบวนการทำงาน รูปแบบธุรกิจ ฯลฯ บริษัท ก. จึงได้จัดโครงการ Innovation หรือโครงการนวัตกรรมขึ้น โดยพนักงานของบริษัท ก. และบริษัทในเครือเดียวกันเข้าร่วมประกวดในการนำเสนอแนวความคิดและผลงานนวัตกรรม บริษัท ก. กำหนดรางวัลให้แก่พนักงานผู้ชนะการประกวดเป็นสิ่งของและเงินสด บริษัทฯ จึงขอทราบว่า: 1. กรณีพนักงานของบริษัท ก. ได้รับรางวัล ถือว่า รางวัลดังกล่าวเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากร อยู่ในบังคับต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) แห่งประมวลรัษฎากร และพนักงานต้องนำรางวัลนั้นมารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเมื่อสิ้นปี โดยมีสิทธิหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ถูกต้องหรือไม่: 2.

0811/16540 | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)

เลขที่หนังสือ: กค 0811/16540 วันที่: 1 ธันวาคม 2541 เรื่อง: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีการหักค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้เงินรางวัลจากการชิงโชค ข้อกฎหมาย: มาตรา 40(8), พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ. ศ. 2502 ข้อหารือ: นาย ก. ได้รับรางวัลจากการส่งไปรษณีย์บัตรทายผลฟุตบอลโลก 98 จากหนังสือพิมพ์เมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม 2541 เป็นเงินจำนวน 5, 000, 000 บาท หนังสือพิมพ์ผู้จ่ายเงินได้หักภาษี ณ ที่จ่าย เป็นจำนวน 250, 000 บาท นาย ก. ได้รับคำชี้แจงว่า จะต้องนำเงินได้จากเงินรางวัลที่ได้รับทั้งหมด มาคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยจะหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาไม่ได้ แต่มีสิทธิหัก ค่าใช้จ่ายได้ตามความเป็นจริงและสมควรเท่านั้น ซึ่งหากใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าว นาย ก. จะต้องเสีย ภาษีเงินได้เป็นจำนวน 1, 100, 000 บาทเศษเมื่อรวมกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่หนังสือพิมพ์ ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินได้หักภาษีไว้แล้วเป็นเงิน 250, 000 บาท ก็จะเป็นเงินภาษีทั้งสิ้นจำนวน 1, 350, 000 บาท นาย ก. ขอให้กรมสรรพากรพิจารณาอนุมัติให้คำนวณภาษีเงินได้โดยหักค่าใช้จ่ายเป็น การเหมาในอัตราร้อยละ 65 แนววินิจฉัย: เงินรางวัลที่ได้รับจากการชิงโชค ถือเป็นเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40 (8) แห่ง ประมวลรัษฎากรซึ่งตามมาตรา 8 แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ.

  1. JobThai - งาน หางาน สมัครงาน อัปเดตงานคุณภาพทุกวันจากบริษัทชั้นนำทั่วไทยและต่างประเทศ
  2. เลือด ออก ใน กระเพาะ อาหาร เกิด จาก ภาษาอังกฤษ
  3. แบบ บันทึก การ นิเทศ ครู
  4. 0811/16540 | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  5. เติม m pass ผ่าน ktb netbank
  6. วิเคราะห์บอล : แมนยู พบ บียาร์เรอัล (UCL รอบแบ่งกลุ่ม) 02:00 น. - W88Plays

0706/2841 | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)

มีทีมเข้าร่วมการประกวด รวมทั้งสิ้น 11 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยสมาชิกตั้งแต่ 3 คน ถึง 19 คน การรวมกลุ่มของบุคคลเป็นทีมงานเพื่อเข้าประกวด จึงเป็นกรณีที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทำกิจการร่วมกัน โดยมิได้มีวัตถุประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรจากกิจการ เป็นการประกอบกิจการร่วมกันตามความเป็นจริงและร่วมกันรับผิดชอบในกิจการของคณะบุคคลนั้น ดังนั้น: 1. เงินรางวัลที่กลุ่มบุคคลหรือทีมงาน ทั้งที่เป็นพนักงานของบริษัท ก. หรือพนักงานของบริษัทในเครือเดียวกันได้รับจากการประกวด เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ผู้มีเงินได้ต้องนำเงินรางวัลที่ได้รับนั้นไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้เมื่อสิ้นปีภาษีในนามคณะบุคคลสำหรับการคำนวณภาษีเงินได้ นั้น ผู้มีเงินได้มีสิทธิหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร โดยให้นำมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ตามมาตรา 8 ทวิ แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ. 2502: 2. เนื่องจากเงินรางวัลที่บริษัท ก. จ่ายให้แก่ผู้ชนะการประกวด เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร บริษัท ก.

2502 กำหนดให้หัก ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาในอัตราร้อยละของเงินได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40 (8) แห่ง ประมวลรัษฎากร ชนิดต่าง ๆ ไว้แล้ว แต่เงินรางวัลจากการชิงโชคนี้ตามมาตรา 8 แห่ง พระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว มิได้ระบุให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาไว้แต่อย่างใด ดังนั้นกรณีเงินได้ เงินรางวัลจากการชิงโชคจึงต้องหักค่าใช้จ่ายตามความจำเป็นและสมควร โดยให้นำมาตรา 65 ทวิและ มาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ตามมาตรา 8 ทวิ แห่ง พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 11) พ. 2502 ในกรณีของ นาย ก. หากมีหลักฐานพิสูจน์ได้ว่ามี ค่าใช้จ่ายจริง เช่น ใบเสร็จรับเงินค่าไปรษณีย์บัตร ก็ย่อมนำมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ สำหรับภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายจำนวน 250, 000 บาท ที่ นาย ก. ได้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งกรมสรรพากรไว้แล้ว นั้น ให้ถือเป็นเครดิตภาษีที่จะนำมาใช้ในการคำนวณภาษีในตอนสิ้นปีได้ ตามมาตรา 3 เตรส และมาตรา 60 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจาก พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการกำหนด ค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ. 2502 ได้กำหนดหลักเกณฑ์ การหักค่าใช้จ่ายของเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ไว้อย่างชัดเจนและมี ผลบังคับใช้แก่ผู้มีเงินได้เป็นการทั่วไป การที่กรมสรรพากรจะพิจารณาอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ การหักค่าใช้จ่ายเป็นการเฉพาะรายจึงไม่อาจกระทำได้เพราะไม่มีบทบัญญัติในกฎหมายเปิดโอกาสให้ ดังนั้น กรณีการคำนวณภาษีเงินได้เงินรางวัลจากการชิงโชคของ นาย ก.